มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19 (ฉบับที่ ๓๕)

คำสั่งจังหวัดสระแก้ว ที่๑๑๕๒ / ๒๕๖๔ เรื่อง มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19 (ฉบับที่ ๓๕)

*****นายเกียรติศักดิ์ จันทรา ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว ผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินจังหวัดสระแก้ว กล่าวว่า ตามที่จังหวัดสระแก้วมีคำสั่งกำหนดมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติตเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19 ในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรการหรือแนวปฏิบัติที่นายกรัฐมนตรี หรือศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาตของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD – 19) (ศบล.) กำหนดเนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์โรคโควิด – 19 ยังคงมีการแพร่ระบาดพบผู้ติดเชื้อและผู้ป่วย เพิ่มขึ้นและกระจายไปอย่างรวดเร็ว ประกอบกับได้มีการปรับระดับพื้นที่สถานการณ์ในจังหวัดที่ได้ตรวจพบ การระบาดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม จึงมีความจำเป็น ต้องกำหนดมาตรการเพิ่มเดิม เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการสกัดกั้นและระงับยับยั้งสถานการณ์ ใต้อย่างทันท่วงที ตังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคติตต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๗ (๑) ของข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑) ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๓ ข้อกำหนดออกตามความ ในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และคำสั่งศูนย์บริหาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD – 19) ผู้ว่ารารการจังหวัดสระแก้ว ในฐานะผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินจังหวัดสระแก้ว โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัดสระแก้ว ในตราวการประชุมครั้งที่ ๓๓/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๔ จึงมีคำสั่งดังนี้ ข้อ – แก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งจังหวัดสระแก้วที่ ๑๑๖๕/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๒๔ เรื่อง มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) (ฉบับที่ ๓๔) ดังต่อไปนี้(๓) ให้ยกเลิกความในข้อ 4 การงดหรือหลีกเสี่ยงการเดินทาง และให้ใช้ตวามต่อไปนี้แทน”ข้อ ๔ การงดหรือหลีกเสี่ยงการเดินทาง ขอความร่วมมือให้ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทาง ในช่วงเวลานี้โดยไม่มีเหตุจำเป็น ซึ่งอาจทำให้เสี่ยงหรือมีโอกาสติดโรค การตั้งจุดสกัดหรือจุดคัดกรอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเท่าที่จำเป็นและเหมาะสม ของแต่ละพื้นที่ ตามมาตรการที่ศูนย์ปฏิบัติการ ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศปก.ศบค.) กำหนด และต้องไม่เป็นการก่อความเดือดร้อนแก่ประชาชนเกินสมควรแก่เหตุ ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบตรวจสอบและกำกับดูแลการให้บริการขนส่งผู้โดยสารที่เป็นการขนส่ง สาธารณะทุกประเภท โดยต้องมีการจัตระบบและระเบียบต่าง ๆ เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรคที่กำหนด” (๒) ให้ยกเลิก ๒) ให้ยกเลิกความในข้อ ๑ การเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางเข้ามาในจังหวัดสระแก้ว และให้ใช้ ความต่อไปนี้แทน”ข้อ ๑๐ ให้ผู้ที่เดินทางเข้ามาในจังหวัดสระแก้ว ต้องปฏิบัติ ตังนี้ (๓) ให้รายงานตัวต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ (นายอำเภอ ปลัดอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปลัดเทศบาล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล สารวัตรกำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน) ทันทีที่เดินทางมาถึง(๒) ให้ผู้รับรายงานตัวตาม (๑) แจ้งสาธารณสุขอำเภอหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อตำเนินการตามแนวทางที่กำหนด พร้อมทั้งให้ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ติดตาม และจัดให้มีระบบการบันทึกรายละเอียดผู้ที่เดินทางเข้ามาในจังหวัดสระแก้วให้สามารถสืบคันข้อมูลได้ รวมถึงให้คำแนะนำ ดูแล และชี้แจงการปฏิบัติตัวตามมาตรการทางสาธารณสุขและคำสั่งจังหวัดสระแก้ระหว่างอยู่ในพื้นที่อย่างเคร่งครัด (๓) จะต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด – 19 และเฝ้าระวังสังเกตตนเอง หากมีอาการ

ไข้ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ให้ไปพบแพทย์ทันที (๔) กรณีพักที่โรงแรมหรือที่พักเอกชนหรือสถานที่อื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน ให้เจ้าของ ผู้จัดการสถานที่จัดทำทะเบียนบันทึกรายการต่าง ๆ ของผู้เข้าพัก แล้วแจ้งต่อนายอำเภอท้องที่เพื่อรายงานคณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัดสระแก้ว หากละเลยไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ว่ากล่าวตักเตือนและสั่งให้ผู้นั้นปฏิบัติ ตามมาตรการที่กำหนดให้ถูกต้อง ถ้าผู้นั้นไม่ปฏิบัติตาม ให้ดำเนินการตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒t๕๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องต่อไป”(๓) ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๒ ให้ประชาชนในจังหวัดสระแก้วสวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธีทุกครั้ง และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๑๒ ให้ประขาชนในจังหวัดสระแก้วสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธีทุกครั้ง ตลอดเวลาขณะอยู่นอกเคหสถานหรือสถานที่ทำนักของตนหรือเมื่อเข้าไปในที่สาธารณะ ยกเว้นระหว่าง

รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มเมื่อพบผู้ไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ว่ากล่าวตักเตือนและสั่งให้ผู้นั้นปฏิบัติ ให้ถูกต้อง ถ้าผู้นั้นไม่ปฏิบัติตาม ให้ตำเนินการตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 6๕๕๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อไป”ข้อ ๒ ห้ามประชาชนในจังหวัดสระแก้วออกนอกเคหสถานหรือสถานที่พำนักของตนระหว่างเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ถึง 0๔.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น เว้นแต่มีความจำเป็น ดังต่อไปนี้ (๑) การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งต่าง ๆ ของทางราชการ หรือเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร หรือพลเรือนซึ่งอยู่ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย (๒) การสาธารณสุข ได้แก่ ผู้ป่วย ผู้มีความจำเป็นต้องพบแพทย์และผู้ดูแลบุคคลตังกล่าว หรือแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องปฏิบัติงาน (๓) การขนส่งสินค้าเพื่อประโยชน์ของประยาชน ได้แก่ ผู้ขนส่งอาหาร ยาเวชภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ สินค้าอุปโภคบริโภค ผลผลิตการเกษตร น้ำมันเชื้อเพสิง ไปรษณียภัณฑ์ พัสดุภัณฑ์ หนังสือพิมพ์ หรือสินค้าเพื่อการนำเข้าหรือส่งออก(๔) การขนส่งหรือขนย้ายประชาชน ได้แก่ ผู้ขนส่งหรือขนย้ายประชาชนไปสู่ที่เอกเทศของทางราชการหรือของตนเองเพื่อการเฝ้าระวังหรือกักกันตามกฎหมายว่าด้วยโรคติตต่อ หรือผู้เดินทางมาจากหรือไปยังทำอากาศยานหรือสถานที่ขนส่งตามที่ทางราชการอนุญาตและให้เปิดทำการได้/(๕) การบรึการ…๕) การบริการหรือการอำนวยความสะตรกแก่ประชาชน ได้แก่ ผู้บริการคนไร้ที่พึ่ง ผู้บริการเฉพาะน้ำมันเชื้อเพลิงในสถานีน้ำมันเชื้อเพลิง ผู้บริการส่งสินค้าหรืออาหารตามสั่ง ผู้บริการตรวจสอบ หรือซ่อมบำรุงไฟฟ้า ประปา ระบบระบายน้ำ ระบบท่อส่งน้ำมันและก๊าชธรรมชาติ ผู้บริการจัดเก็บและกำจัด ขยะมูลฝอย ผู้บริการซ่อมแชมและปรับปรุงโครงข่ายและอุปกรณ์ในการสื่อสารโทรคมนาคม ผู้บริการต้านธนาคารตลาดทุน ประกันภัย การกู้ภัย การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ ผู้จำเป็นต้องดำเนินการในกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือจำเป็นต้องติดต่อราชการกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง หรือพนักงานสอบสวน(๖) การประกอบอาชีพซึ่งจำเป็นต้องกระทำภายในช่วงเวลาพิเศษ ไต้แก่ ผู้เข้าออกเวรยาม กะหรือการทำงานตามผลัดเวลาที่กำหนดไว้ตามปกติของทางราชการ เอกชน โรงงาน หรือการดูแลรักษา ความปลอดภัย

(๗) เหตุจำเป็นอื่น ๆ โดยได้รับอนุญาตเป็นการเฉพาะรายจากพนักงานเจ้าหน้าที่

ในกรณีตาม (๑) ถึง (๖) ให้บุคคลที่มีความจำเป็นตังกล่าวแสตงบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรแสดงตนอย่างอื่น แสะเอกสารวับรองความจำเป็น เอกสารเกี่ยวกับสินค้า บริการ การเดินทาง หรือหลักฐานอื่น ๆ ต่อเจ้าหน้าที่ และต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคที่ทางราชการกำหนดรวมถึง การยอมรับการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย สำหรับกรณีตาม (๗) ให้แสดงเหตุจำเป็นพร้อมทั้งหลักฐาน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน นายอำเภอ หัวหน้าสถานีตำรวจหรือผู้ใด้รับแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องเพื่ออนุญาตเมื่อพบผู้ไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ว่ากล่าวตักเตือน และสั่งให้ผู้นั้นปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนด ถ้าผู้นั้นไม่ปฏิบัติตาม ให้ดำเนินการตามพระราขบัญญัติโรคติดต่อ

พ.ศ. ๒td๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมต่อไป ข้อ ๓ หากผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งนี้ มีความผิดตามมาตรา ๑๘ แห่งพระราชกำหนด การบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และเป็นความผิดตามมาตรา ๑ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท และมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๖๕๕๘ ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับผู้ติดเชื้อที่จงใจปกปิดข้อมูลการเดินทางหรือแจ้งข้อมูลเท็จต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติตต่อทำให้เป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนและควบคุมโรคเป็นผลให้เชื้อโรคแพร่ออกไป อาจเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติตต่อซึ่งเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วยทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ จนถึงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔

***ภาพ/จากสมัย/p.Nudee /ข่าว สมศักดิ์ สารการ /บูรพาทีวีออนไลน์ รายงาน

 

 

Related posts